วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

กิจกรรมวาดภาพละบายสี+นิทาน

กิจกรรมวาดภาพละบายสี+นิทานตามหลักการไล่สี

วัสดุอุปกรณ์: 

1. สมุดวาดเขียน


2. สี 
3. ปากกาสีดำ

วัตถุประสงค์
1. เพื่ิอให้นักศึกษาได้รู้จักการทำงาน โดยอาศัยการคิดอย่างเป็นระบบ (system thinking) คือ จะต้องคิดให้ได้ว่างานนั้นมีกระบวนการหรือขั้นตอนอย่างไร ควรทำอะไรก่อน ทำอะไรหลัง ในแต่ละขั้นตอนของงานควรใช้เวลาแค่ไหนถึงจะเสร็จ 

กระบวนการทำงาน

1.ฝึกทักษะย่อย  : ฝึกเขียนตัวหนังสือเป็นแบบต่างๆ เช่น สามมิติ ด้วยปาก


2. ฝึกทึกษะการวาดรูปการ์ตูนด้วยปากกา



 
ฝึกการวาดรูปด้วยปากกาก่อนนะคร้าาเด็กๆ ^^



ขั้นตอนการทำงานจริง
1. เขียนตัวอักษร ตามที่ต้องการ พร้อมวาดรูปตกแต่ง
เขียนตัวอักษร ตามที่ต้องการ
 
2. ระบายสีโดยใช้ทักษะหลักการไล่สี


สีตรงข้ามมี 6 คู่ได้แก่ 
สีเหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วง 
สีแดง ตรงข้ามกับ สีเขียว 
สีน้ำเงิน ตรงข้ามกับ สีส้ม 
สีเขียวเหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วงแดง 
สีส้มเหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วงน้ำเงิน 
สีส้มแดง ตรงข้ามกับ สีเขียวน้ำเงิน
3. ลงมือปฏิบัติจริงได้เลยคะ




ระบายสีโดยใช้ทักษะหลักการไล่สี


ฝึกทึกษะการวาดรูปการ์ตูนด้วยปากกา

สัตว์ 2 ขา

แมลง

สัตว์เลื่อยคลาน

ต้นไม้ + ดอกไม้

ยานพาหนะ

คน


นิทาน
  เนื้อเรื่อง
ในขณะเดียวกัน มุมเล็ก ๆ มุมหนึ่ง ณ ลานพระราชวังดุสิต ก็มีอีกหนึ่งเหตุการณ์สุดประทับใจซึ่งเป็นบทสนทนาระหว่างยายและหลานสาวคู่ หนึ่ง 

         หญิงสาว : มองไม่เห็นในหลวงเลย รู้งี้ดูทีวีอยู่ที่บ้านดีกว่า
         ยาย : ยายไม่ได้มาดูในหลวงหรอก แต่ยายมาให้ในหลวงดูว่า "มีคนรักท่านมากมายแค่ไหน"
         แม้จะเป็นเพียงข้อความสั้น ๆ แต่ก็ทำให้คนฟังรอบข้างต่างรู้สึกซาบซึ้งใจจนไม่สามารถหาคำใด ๆ มาบรรยายได้ ซึ่งข้อความน่ารักกินใจนี้ได้มีการแชร์และส่งต่อผ่านทางโซเชียลมีเดียมากมาย ทั้งทางเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ 



การประเมินผลงานด้วยตนเอง

1. ให้คะแนนผลงานตัวเอง 
2. อาจารย์ผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินคะแนนที่เหมาะสม

การนำไปประยุกต์ใช้

1. หลักการคิด คือสามารถนำความรู้เรื่องการคิดอย่างเป็นระบบไปใช้ในการทำงานในชีวิตประจำวันได้ ทั้งด้านการเรียน การทำงานเดียวและการทำงานเป็นกลุ่ม  จะต้องคิดให้ได้ว่างานนั้นมีกระบวนการหรือขั้นตอนอย่างไร ควรทำอะไรก่อน ทำอะไรหลัง ในแต่ละขั้นตอนของงานควรใช้เวลาแค่ไหนถึงจะเสร็จ ควรมอบหมายงานให้กับใครรับผิดชอบ และหากเจ้าหน้าที่ไม่ว่างหรือไม่อยู่ ควรจะมอบหมายให้กับผู้ใดทำแทน เป็นต้น 
2. การสังเกตปรับปรุงแก้ไข คือ สามารถพิจารณางานของตนเองได้ว่าควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไนเพื่อให้งานออกมาดีขึ้นกว่าเดิม 

การนำไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้

--- สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ และการงานอาชีพ

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

1. สร้างนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพได้
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้บุคคลอื่นที่สนใจได้
3. นำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนได้




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น